วันพุธที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

บทอาขยาน

คำนำ
พิมครั้งที่ 2

บทกวีที่ดีเป๐นพลังแห่งภูมิป๎ญญาทําให้ผู้อ่านผู้ฟ๎งได้รับรสแห่งถ้อยคํา รู้จักความงามความดี และความ จริงอันเป๐นประโยชน์ต่อการดํารงชีวิต และได้รับแบบอย่างในการแต่งคําประพันธ์ตามความสนใจ เป๐นสื่อ ส่งเสริมจิตสํานึกและร่วมกันของคนไทยในฐานะรากร่วมทางวัฒนธรรมการเรียนการสอนภาษาไทยในอดีต จวบจนป๎จจุบัน อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ บทอาขยาน

มหาชาติหรือมหาเวสสันดรชาดก


มหาชาติ หรือ มหาเวสสันดรชาดก
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ มหาชาติหรือมหาเวสสันดรชาดก
 มหาชาติ  เป็นชาติที่ยิ่งใหญ่ของพระโพธิสัตว์ที่ได้เสวยพระชาติเป็นพระเวสสันดรและเป็นพระชาติสุดท้ายก่อนจะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า  คนไทยรู้จักและคุ้ยเคยกับมหาชาติมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย  ดังที่ปรากฏในหลักฐานในจารึกนครชุม  และในสมัยอยุธยาก็ได้มีการแต่งและสวดมหาชาติคำหลวงในวันธรรมสวนะ  ส่วนการเทศน์มหาชาติเป็นประเพณีที่สำคัญในทุกท้องถิ่นและมีความเชื่อกันว่า  การฟังเทศน์มหาชาติจบภายในวันเดียวจะได้รับอานิสงส์มาก อ่านเพิ่มเติม

มงคลสูตรคำฉันท์

มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์  เป็นวรรณคดี  คำสอน  ผลงานพระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวที่ทรงนำหลักธรรม ที่เป็นพระคาถาบาลีจากพระไตรปิฏกตั้งแล้วแปลถอดความเป็นคำประพันธ์ที่ ไพเราะ  มีความงดงามทั้งด้านเสียงและความหมาย  สามารถจดจำได้ง่าย  มงคลสูตรคำฉันท์นี้จะเกิดแต่ตัวเราเองได้ก็ต้องเป็นผลมาจากการประพฤติ ปฏิบัติดีของตนเองเท่านั้น  หาได้มาจากปัจจัยอื่นเลย อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ มงคลสูตรคำฉันท์

วันพฤหัสบดีที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

ทุกข์ของชาวนาในบทกว๊

ประวัติผู้แต่งทุกข์ของชาวนาในบทกวี
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นพระราชธิดา ในพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชสมภพ เมื่อวันเสาร์ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2498 ณ พระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต โดยสมเด็จพระสังฆราชเจ้ากรมหลวงวชิรญาณวงศ์ เป็นผู้ถวายพระนามว่า "สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุ อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ทุกข์ของชาวนาในบทกวี

วันพุธที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

หัวใจชายหนุ่ม

  หัวใจชายหนุ่ม เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยใช้
พระนามแฝงว่า รามจิตติ  เพื่อพระราชทานลงพิมพ์ ในหนังสือพิมพ์ ดุสิตสมิต เมื่อ พ.ศ. 2464 ลักษณะการพระราชนิพนธ์เป็นรูปแบบของจดหมาย มีจำนวน 18 ฉบับ รวมระยะเวลาที่ปรากฏตามจดหมายทั้งหมด 1 ปี 7 เดือน
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว  ได้ทรงสร้างตัวละครเอกขึ้นโดยสมมติให้มีตัวตนจริง คือ อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ หัวใจชายหนุ่ม

ินิราศนรินทร์คำโคลง


ผู้แต่ง[แก้]
ผู้แต่งนิราศนรินทร์ คือนายนรินทรธิเบศร์ (มิใช่ชื่อตัว แต่เป็นบรรดาศักดิ์ในสมัยโบราณ) มีนามเดิมว่า อิน ในตำรารุ่นเก่า มักเขียนเป็น นายนรินทรธิเบศร์ (อิน) ได้แต่งนิราศเรื่องนี้เมื่อคราวตามเสด็จสมเด็จพระบวรราชเจ้า มหาเสนานุรักษ์ยกกองทัพหลวงไปปราบพม่า ซึ่งยกลงมาตีเมืองถลางและชุมพร ในช่วงต้นรัชกาลที่ 2 เมื่อปีมะเส็ง (พ.ศ. 2352) นิราศเรื่องนี้ผู้แต่งไม่ได้ระบุชื่อเอาไว้ แต่เรียกกันโดยทั่วไปตามชื่อผู้แต่ง ว่า นิราศนรินทร์อ่านเพิ่มเติม

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ นิราศนรินทร์คำโคลง

นิทานเวตาล เรื่องที่10

นิทานเรื่องที่๑๐
            ดังนั้น พระเจ้าตริวกรมเสนจึงได้เสด็จกลับไปที่ต้นอโศกอีกครั้งหนึ่ง เพื่อจับตัวเวตาล เมื่อจับได้แล้วก็ทรงเหวี่ยงขึ้นบนพระอังสา เสด็จมุ่งหน้าไปยังที่นัดพบกับโยคีโดยไม่ปริปากใด ๆ เลย เวตาลเห็นพระราชาทรงเงียบอยู่ก็กล่าวขึ้นว่า
            "ราชะ ตอนนี้พระองค์ก็เหน็ดเหนื่อยมาแล้วมากเต็มที ดังนั้นข้าจะเล่านิทานสนุก ๆ ให้ฟังสักเรื่องหนึ่ง  เพื่อจะได้ขับไล่ความเหน็ดเหนื่อยให้ประลาตนาการไป โปรดฟังเถิด" อ่านเพิ่มเติม
ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ นิทานเวตาล เรื่องที่10